Good Agricultural Practices Smart Model City, Suan Dusit University begin in 2018 at Suan Dusit University, Suphan Buri Campus with the aim to drive the community's area-based development and increase the competitiveness by sharing knowledge, innovation and technology from research of Suan Dusit University to farmers and entrepreneurs throughout the production chain. The project is the collaboration between Suan Dusit University and partners both inside and outside the area. The partners are
1. โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.)
2. จังหวัดสุพรรณบุรี
3. สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
4. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
5. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)
6. กรมราชทัณฑ์
7. เมืองนวัตกรรมอาหาร (Food Innopolis)
The goal of the project is “to Increase the income and fair reward for farmers”. The project has 5 dimensions under the brand “Homkhajorn”
Development of Technology and Innovation to Support Agricultural Production.
The dimension consists of 4 activities
1.1 การพัฒนาต้นแบบแปลงเกษตรอัจฉริยะ
1.2 การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการผลิตพืช
1.3 การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมจัดการเกษตรอัจฉริยะ
1.4 การพัฒนาเครื่องจักรและเครื่องมือทางการเกษตร
Agricultural product and waste processing for value added.
The dimension consists of 4 activities.
2.1 การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องสำอาง
2.2 การแปรรูปวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร
2.3 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์และเครื่องหมายทางการค้า
2.4 การปกป้องสิทธิ์ทรัพย์สินทางปัญญาสินค้าเกษตรแปรรูป
Creating marketing channel to increase competitiveness both national and international level. The dimension consists of 4 activities
3.1 การสร้างตลาดแลกเปลี่ยนสินค้าเกษตรปลอดภัย
3.2 การรับซื้อผลผลิตและแปรรูปเพิ่มมูลค่าเพื่อจัดจำหน่าย
3.3 การสร้างเครือข่ายเกษตรปลอดภัยตลอดห่วงโซ่การผลิตและการบริการ
3.4 การสร้างระบบและกลไกเชื่อมโยงระหว่างเกษตรกร ผู้ประกอบการ และผู้บริโภค
Transferring knowledge, innovation and technology of Good Agricultural Practice throughout the process.
The dimension consists of 4 activities
4.1 Troubleshooting inappropriate environment conditions for production
4.2 Improve the competency of farmer.
4.3 Good Agricultural Practice product production
4.4 Processing and marketing
Tourism promotion and agricultural resource conservation according to local identity
The dimension consists of 4 activities
5.1 Promoting agricultural travel route to create income for community
5.2 Agricultural tourism activity development according to local activity.
5.3 Creating marketing channel and communication for agricultural tourism
5.4 Promoting agricultural resource conservation according to local identity.
หอมขจรฟาร์ม ต้องการสร้างความยั่งยืนให้ภาคเกษตรด้วยการสร้างผลตอบแทนที่ดีจากผลผลิตและผลิตภัณฑ์แปรรูปที่ดีมีคุณภาพ สร้างผลลัพธ์ที่ดีทั้งกับผู้ปลูก ผู้จำหน่าย และผู้บริโภค ทำให้เกิดการแบ่งปัน และเชื่อมโยงระบบธุรกิจภาคการเกษตรที่ยั่งยืน ตามแนวคิด “Do well and do good"
to represent the intention to add value to Good Agricultural Practice by adding knowledge, technology and innovation. We create the system to allow consumer to access the source of material, feel closer to the farmer and see our attention and effort by telling story of the material, adding value to the processed product and make the consumers feel like they are the part our story.
We plant a seed of innovation and let it grow to be the root of the sustainable Good Agricultural Practice. That is why Homkhajorn is more than just a brand that only make the good quality product but we are the story of the memorable good agricultural product that have a close connection with the source of production that lead to trust.
Flower is the symbol of the concept because in the ecosystem, flowers spread the pollen to other flowers and create seeds and fruits just like the mission of our brand which is to create the network to share knowledge, technology and innovation of good agricultural practice. We chose "Khajorn" flower to represent the brand because beside from being the flower of Suan Dusit University, khajorn is the local flower that is well known in Thailand and foreign country.
The flower has 5 petals representing 5 dimensions of the project like the flower that spread good scent.
Dimension 1 การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมส่งเสริมการผลิตทางการเกษตร
Dimension 2 การแปรรูปผลผลิตและวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร
Dimension 3 การสร้างช่องทางการตลาดสินค้าเกษตรปลอดภัย
Dimension 4 การถ่ายทอดองค์ความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีด้านเกษตรปลอดภัยตลอดห่วงโซ่การผลิต
Dimension 5 การส่งเสริมการท่องเที่ยวและอนุรักษ์ทรัพยากรทางการเกษตรโครงการเมืองต้นแบบเกษตรปลอดภัยอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต หรือ หอมขจร เริ่มต้นจากการดำเนินงานวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชนเชิงพื้นที่ ณ จังหวัดสุพรรณบุรี อันเป็นพื้นที่ให้บริการของมหาวิทยาลัย สวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี โดยความร่วมมือของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
ในปีงบประมาณ 2560 และ 2561 โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์และข้าวปลอดภัยในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี ตลอดห่วงโซ่การผลิตตั้งแต่ระยะต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ ทำให้เกิดเป็นเครือข่ายความร่วมมือที่มีความเข้มแข็งระหว่างมหาวิทยาลัยกับกลุ่มเกษตรกร กลุ่มผู้ประกอบการ และหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ ตลอดจนเกิดเป็นองค์ความรู้ นวัตกรรม เทคโนโลยีและกระบวนการใหม่ ๆ ด้านการผลิตข้าวปลอดภัยแบบครบวงจรที่มีคุณค่า สามารถสร้างความเปลี่ยนแปลง และยกระดับรายได้ตลอดจนคุณภาพชีวิตของเกษตรกรในชุมชุนได้อย่างแท้จริงจากผลสำเร็จของการดำเนินงานดังกล่าว มหาวิทยาลัยสวนดุสิตในฐานะมหาวิทยาลัยที่มีเป้าหมายในการดำเนินงานเพื่อมุ่งพัฒนาชุมชนเชิงพื้นที่ ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชนในพื้นที่โดยรอบมหาวิทยาลัย จึงได้ริเริ่มการดำเนินงานโครงการเมืองต้นแบบเกษตรปลอดภัยอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต หรือ หอมขจร โดยใช้องค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมจากงานวิจัยด้านอาหารและสาขาที่เกี่ยวข้องของมหาวิทยาลัยเป็นฐานในการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยตลอดห่วงโซ่การผลิต ตั้งแต่ระยะต้นน้ำไปจนถึงระยะปลายน้ำ ได้แก่ การปลูก การแปรรูป การตลาดและการท่องเที่ยว เพื่อพัฒนาจังหวัดสุพรรณบุรีไปสู่การเป็นเมืองต้นแบบเกษตรปลอดภัยอัจฉริยะตามแนวทางการปฏิบัติของระบบเกษตรดีที่เหมาะสมหรือเกษตรปลอดภัย (Good Agricultural Practices: GAP) โดยมีเป้าหมายเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและสร้างผลตอบแทนที่เป็นธรรมให้แก่เกษตรกรและชุมชนในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรีอย่างเป็นรูปธรรมต่อไป